วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555

ภาคผนวก





























บทที่5


บทที่ 5
การศึกษาเกี่ยวกับ น้ำพริกลงเรือ กลุ่มผู้ศึกษา สรุปผลการศึกษาดังนี้
    1.วัตถุประสงค์  
2.1 เพื่อศึกษา น้ำพริกลงเรือ
2.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจใน น้ำพริกลงเรือ ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
    2. ขั้นตอนการจัดทำ น้ำพริกลงเรือ สรุปผลขั้นตอนการทำ ดังนี้
1.             ปอกเปลือกกระเทียม แล้วแบ่งเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน ประมาณที่ละ 20 กรัม โขลกรวมกับพริกขี้หนูสวนและกะปิให้ละเอียด จากนั้นปรุงรสด้วยน้ำมะนาว น้ำปลา น้ำตาล ชิมดูให้กล่อมกล่อม
2.              นำกระเทียมที่เหลือบุบพอแตกสับละเอียด เจียวพอแตกกลิ่นจนหอม ใช้น้ำมัน 2-3 ช้อนโต๊ะ จากนั้นนำน้ำพริกที่ตำไว้มาผัดเข้ากัน เสร็จแล้วพักไว้
3.              ต้มหมูสามชั้นจนเปื่อย แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ นำน้ำมันที่เหลือตั้งไฟ แล้วนำหมูลงไปผัด ปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลให้รสจัด เค็ม หวานเท่า ๆ กัน โดยใช้น้ำปลา น้ำตาลที่เหลือจากปรุงน้ำพริกครั้งแรก
4.             ทำความสะอาดปลา นึ่งจนสุก แล้วแกะเอาแต่เนื้อ ยีให้ฟูแล้วนำไปทอดในน้ำมันร้อนจนเหลืองกรอบตักพักไว้ให้สะเด็ดน้ำมัน จากนั้นซอยกลีบกระเทียมดองบาง ๆ แล้วนำไข่แดงของไข่เค็มผ่าเป็นชิ้นเล็ก ๆ พักไว้
5.             นำน้ำพริกที่ปรุงแล้ว หมูที่ผัดมาผสมกระเทียมดอง คลุกเคล้าให้เข้ากัน ตักใส่ภาชนะ










3.ผลการประเมินความพึงพอใจการจัดทำโครงงาน และเป็นการประเมินด้านกระบวนการ
(P= Process)
               ค่าเฉลี่ยของคะแนน                            เท่ากับ………….
               ความหมายของค่าคะเฉลี่ย                  เท่ากับ มีความพึงพอใจ……………
4.             ผลการประเมินของผู้ปกครอง ประเมินด้านคุณธรรมจริยธรรมหรือเจตคติ (A= Attitude)
               ค่าเฉลี่ยของคะแนน                             เท่ากับ…………..  
               ความหมายของค่าคะเฉลี่ย                  เท่ากับ มีความพึงพอใจ…………….
5.             ประเมินผลด้านความรู้                       
                ค่าเฉลี่ยของคะแนน                            เท่ากับ…………..
                ความหมายของค่าคะเฉลี่ย                  เท่ากับ มีความพึงพอใจ……………
6.             ข้อค้นพบใหม่ที่นักเรียนได้รับจากการศึกษาโครงงานนี้ คือ
ประวัติของน้ำพริกลงเรือ สารอาหารที่ได้รับ คุณค่าทางอาหาร วิธีทำที่มีหลายสูตร แต่ละสูตรก็จะแตกต่างกันออกไป น้ำพริกเกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทยอย่างไร

บทที่4

บทที่ 4
ผลการศึกษาและบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
    การศึกษาเกี่ยวกับ  น้ำพริกลงเรือ กลุ่มผู้ศึกษา สรุปผลการศึกษาดังนี้
1.             ขั้นตอนจัดทำ น้ำพริกลงเรือ มีขั้นตอนดังนี้
1.             ปอกเปลือกกระเทียม แล้วแบ่งเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน ประมาณที่ละ 20 กรัม โขลกรวมกับพริกขี้หนูสวนและกะปิให้ละเอียด จากนั้นปรุงรสด้วยน้ำมะนาว น้ำปลา น้ำตาล ชิมดูให้กล่อมกล่อม
2.              นำกระเทียมที่เหลือบุบพอแตกสับละเอียด เจียวพอแตกกลิ่นจนหอม ใช้น้ำมัน 2-3 ช้อนโต๊ะ จากนั้นนำน้ำพริกที่ตำไว้มาผัดเข้ากัน เสร็จแล้วพักไว้
3.              ต้มหมูสามชั้นจนเปื่อย แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ นำน้ำมันที่เหลือตั้งไฟ แล้วนำหมูลงไปผัด ปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาลให้รสจัด เค็ม หวานเท่า ๆ กัน โดยใช้น้ำปลา น้ำตาลที่เหลือจากปรุงน้ำพริกครั้งแรก
4.             ทำความสะอาดปลา นึ่งจนสุก แล้วแกะเอาแต่เนื้อ ยีให้ฟูแล้วนำไปทอดในน้ำมันร้อนจนเหลืองกรอบตักพักไว้ให้สะเด็ดน้ำมัน จากนั้นซอยกลีบกระเทียมดองบาง ๆ แล้วนำไข่แดงของไข่เค็มผ่าเป็นชิ้นเล็ก ๆ พักไว้
5.             นำน้ำพริกที่ปรุงแล้ว หมูที่ผัดมาผสมกระเทียมดอง คลุกเคล้าให้เข้ากัน ตักใส่ภาชนะ












1.             ผลการบูรณาการจาก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานของนักเรียนคือ เรื่อง น้ำพริกลงเรือ
 ตัวอย่างเช่น ทำขนมครก มีผลลัพธ์ที่เกิดจากขนมครกตามวิชาต่างๆ เช่น
-คณิตศาสตร์
                ส่วนผสมของน้ำพริกลงเรือประกอบด้วย พริกขี้หนูสวน หมูหวาน กระเทียมดอง น้ำปลา น้ำมะนาว กะปิ    ไข่เค็ม น้ำตาลปี๊บ ปลาดุก มะเขือพวง
-ภาษาต่างประเทศ
                 วิธีการทำขนมครก เป็นภาษาอังกฤษ,ส่วนประกอบต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ
-ภาษาไทย
                 เขียนกลอน ชมน้ำพริกลงเรือ,เขียนเรียงความหรือเรียงความเกี่ยวกับน้ำพริกลงเรือที่ตนเองผลิต                  ขึ้นมา
-การงานอาชีพและเทคโนโลยี
                    เขียนวิธีการทำน้ำพริกลงเรือเป็นภาษาไทย ทำแผ่นพับน้ำพริกลงเรือ,เผยแพร่ผลงานการทำน้ำพริกลงเรือ พร้อมรูปภาพ และ รายงาน 5 บท ใส่ใน biog หรือ รวบรวมลงใน website โรงเรียน,ติดตาโลโก้ตนเอง
-วิทยาศาสตร์
                      เขียนสารอาหารที่ได้รับจากน้ำพริกลงเรือ
-ศิลปะ
                      วาดรูปน้ำพริกลงเรือ หรือจินตนาการเกี่ยวกับน้ำพริกลงเรือ,การทำโลโก้น้ำพริกลงเรือติดกล่อง
-สังคมศึกษา
                       น้ำพริกลงเรือใช้ในประเพณีต่างๆ อะไรบ้าง ประวัติการทำน้ำพริกลงเรือ
                        มีใครทำน้ำพริกลงเรือบ้างในท้องถิ่นตนเอง
-สุขศึกษาและพลศึกษา
                        ประโยชน์ของน้ำพริกลงเรือ








1.1        วิชาคณิตศาสตร์
1.แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา {}                         
และเครื่องหมาย( ,) คั่นระหว่างสมาชิกแต่ล่ะตัวเช่นเซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 5 เขียนแทนด้วย {1, 2, 3, 4} 
2.แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก ใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแล้วบรรยายสมบัติที่อยู่ในรูปของตัวแปร เช่น
       A= {x/x เป็นสมาชิกวันในสัปดาห์}
อ่านว่า A เป็นเซตซึ่งประกอบสมาชิก x โดยที่ x เป็นชื่อวันในสัปดาห์เครื่องหมาย
/”  แทนคำว่า โดยที่

1.2        วิชาวิทยาศาสตร์
สารชีวโมเลกุล คือ สารที่สิ่งมีชีวิตสามารถนำไปใช้ในกระบวนการดำรงชีวิตมีธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน เป็นองค์ประกอบหลักโมเลกุลมีตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่สารชีวโมเลกุลทำหน้าที่แตกต่างกันตามลักษณะโครงสร้างและมีบทบาทสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต
                               บทบาทสำคัญของสารชีวโมเลกุล                  
           สลายให้พลังงาน
ใช้ในการเจริญเติบโต
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื้นสุขภาพผมและเล็บ
4.3 วิชาสังคมศึกษา
     คำว่าภูมิปัญญานั้น มีผู้รู้หลายท่านได้ให้คำกำจัดความไว้หลายความหมาย เช่น อาจารย์จารุวรรณ ธรรมวัฒน์ ได้กล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญา หมายถึง องค์ความรู้ เกร็ดความรู้ กฎระเบียบทางสังคมและแนวทางในการดำเนินชีวิตในสังคม อาจารย์สามารถ จันทร์สูรย์ กล่าวว่า ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นฐานความรู้ของชาวบ้าน หรือความรอบรู้ของชาวบ้านที่เรียนรู้ และมีประสบการณ์สืบต่อกันมาทั้งทางตรง คือ ประสบการณ์ด้วยตนเอง หรือทางอ้อม คือ ประสบการณ์ที่สืบต่อกันมา
      ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต คือ ให้ผู้คนยุคปัจจุบันได้ศึกษาและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งเพื่อถ่ายทอดให้แก่อนุชนรุ่นหลังได้เห็นคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมและได้ร่วมกันอนุรักษ์สืบสาน นำไปใช้ และถ่ายทอดต่อไปชั่วกาลนาน
       อาหารเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มนุษย์จะนำอาหารมาบริโภคเพื่อความอยู่รอดแล้ว มนุษย์ยังได้นำเทคนิคการถนอมอาหารและการปรุงรสมาใช้ เพื่อให้อาหารที่มีมาเกินความต้องการเก็บไว้บริโภคได้เป็นเวลานานซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาอีกประเภทหนึ่งที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต

4.4      ภาษาไทย
จะเดินทางใกล้ไกลทั้งใต้เหนือ      ก่อนนั้นเรือเป็นทางหลักไม่สงสัย
       มาบัดนี้ใครนั่งเรือพาปวดใจ         ต้องร้องไห้หากนั่งเรือเข้าบ้านตน
กินอาหารให้อร่อยต้องคอยได้        จะไกลใกล้ลงเรือทั้งเหนือออก
ทำอร่อยใครต่อใครยอกนิ้วบอก       ทั้งเมืองนอกชอบน้ำพริกลงเรือ
เรียงความ น้ำพริกลงเรือ
       น้ำพริก มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยคำว่า "น้ำพริก" มีความหมายมาจากการปรุงด้วยการนำสมุนไพร พริก กระเทียม หัวหอม เครื่องเทศกลิ่นแรง มาโขก บด รวมกัน เพื่อใช้สำหรับจิ้ม โดยมี ดอกแค มะเขือยาว แตงกวา ถั่วฝักยาว มะเขือม่วง ถั่วพู สัตว์น้ำต่าง ๆ เช่น ปลา กุ้ง
             คนในสมัยก่อนนิยมรับประทานสัตว์น้ำมากกว่าสัตว์บก จึงอาจคิดค้นน้ำพริกขึ้นเพื่อเพิ่มรสชาติ และดับกลิ่นคาวต่าง ๆ น้ำพริกถูกใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ หรือใช้ในการรับประทานเป็นกับข้าวก็ได้ และยังได้รับความนิยมมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  สำหรับน้ำพริกแบบทีใช้เป็นเครื่องปรุงส่วนผสมนั้น เกิดขึ้นเพราะอาหารไทยจำพวกแกง จำเป็นที่จะต้องมีส่วนประกอบ หรือกรรมวิธีการทำที่ค่อนข้างซับซ้อน ผู้ปรุงจึงคิดทำน้ำพริกขึ้นเพื่อรวบรวมส่วนผสมต่าง ๆ นั้นเข้าด้วยกัน เป็นการลดขั้นตอนการปรุงลง และยังสามารถทำเก็บไว้ได้ในจำนวนมาก
ในปัจจุบันได้มีการนำน้ำพริกชนิดต่าง ๆ มาดัดแปลงเป็นอาหารหลากหลายประเภท รวมถึงนำมาผัดกับข้าว เช่น ข้าวผัดน้ำพริกนรก ข้าวผัดน้ำพริกปลาทู หวังเหวิดคิดว่าหลายๆคน คงจะสงสัยว่า ทำไมต้องเรียกว่าน้ำพริกลงเริอด้วย ....เพื่อนๆสงสัยกันบ้างมั๊ยครับ ว่าทำไมต้องลงเรือ.... สำหรับที่มาของน้ำพริกลงเรือนั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน ทรงเล่าว่า " มีเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับคุณจอมสดับอีกเรื่อง คือ กับข้าวสำเร็จรูปซึ่งเรียกว่า น้ำพริกลงเรือ คนรู้จักกันมาก แต่ไม่รู้เหตุผลเรื่องนั้น คือ เจ้านายในรัชกาลที่ห้า เข้าไปอยู่วังสวนสุนันทาใหม่ๆ ดินที่ขุดมาถมเพื่อทำตำหนักทำให้มีสระกว้างใหญ่ยาว ต่างองค์ต่างมีเรือพายเล่น วันหนึ่งตอนค่ำ คิดจะลงเรือกัน สมเด็จอาหญิงน้อย (สมเด็จเจ้าฟ้านิภานพดล กรมขุนอู่ทองเขตขัติยนารี พระราชธิดาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระวิมาดาเ ธอฯ) ก็ชวนว่าให้ไปกินข้าวในเรือกันเถอะ ก็รับสั่งว่า'...สดับไปดูซิในครัวมีอะไรบ้าง...'เวลานั้นยังไม่ ถึงเวลาเสวย คุณจอมสดับเข้าไปในห้องเครื่อง เห็นมีแต่ ปลาดุกทอดฟู กับ น้ำพริก ตำไว้เท่านั้น จึงหยิบน้ำพริกกับปลามาผัดรวมกับ หมูหวาน เล็กน้อย พอตักขึ้นมาก็หยิบ ไข่เค็ม ซึ่งขณะนั้นยังไม่ได้ต้ม ความที่เป็นคนคล่องและไว เลยทิ้งไข่ขาว เอาแต่ไข่แดงดิบวางลงไปทั้งลูก และจัดผักเตรียมลงมาด้วย กลายเป็นอร่อยมาก ถึงเรียก น้ำพริกลงเรือ เกิดขึ้นเพราะคุณจอมสดับนี่เอง
             น้ำพริกลงเรือมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา  โดยคำว่า "น้ำพริก" มีความหมายมาจากการปรุงด้วยการนำสมุนไพร พริก กระเทียม หัวหอม เครื่องเทศกลิ่นแรง มาโขก บด รวมกัน เพื่อใช้สำหรับจิ้ม โดยมี ดอกแค มะเขือยาว แตงกวา ถั่วฝักยาว มะเขือม่วง ถั่วพู สัตว์น้ำต่าง ๆ เช่น ปลา กุ้ง มีสรรพคุณคือ ควบคุมระดับไขมันของร่างกาย ป้องกันภาวะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายอย่าง ที่สำคัญน้ำพริกลงเรือแสดงคุณสมบัติการต้าน อนุมูลอิสระสูงสุดเมื่อเทียบกับอาหารไทยชนิด ต่างๆด้วย


4.5      วิชาภาษาอังกฤษ
Ingredients "sauce boat".
Sweet  pork                                                  2 tablespoons
Pickled garlic                                                2 heads
Good fish sauce                                          1 tsp
lemon  juice                                                  1 bottle
Chopped                                                       2 matches.
Catfish Bay                                                   1 active skill.
Eggs                                                                2 salted
Ingredient "pastes".
shrimp paste wrapped in banana leaf burn desk    1 tablespoon
garlic peeled2 cloves
How to cook the sauce.
One. Managed pounded chilli paste with fresh garden fire before. Pound the garlic down.
Two. Then put eggplant lightly pounded.
Three. Season with lime juice, fish sauce, palm sugar taste that taste good or not.
4th. Lamb pork, sweet pickled garlic cloves. Enter "B red hatch.



4.6      วิชาศิลปะ
การประดิษฐ์ท่ารำในการแสดงนาฏศิลป์
      การประดิษฐ์ท่ารำ ในการแสดงนาฏศิลป์ มีหลายประการซึ่งจะต้องนำมาพิจารณาประกอบ ได้แก่ ประเภทของการแสดง ดนตรี บทร้อง เครื่องแต่งกาย อารมณ์ ความรู้สึก และการเคลื่อนไหวของผู้แสดง ทั้งนี้เพื่อให้การประดิษฐ์ท่ารำมีความประณีต สวยงาม สื่อความหมายได้ชัดเจน มีความสัมพันธ์สอดคล้องกันทั้งท่ารำ ทำนอง จังหวะของเพลง และเครื่องแต่งกายเหมาะสมกับชุดการแสดง ในหัวข้อนี้จะได้กล่าวถึง แนวทางในการประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่ และเป็นหมู่
        3.1 การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่
              การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่ ผู้ประดิษฐ์จะต้องคำนึงถึงส่วนประกอบที่สำคัญ คือ จังหวะ ทำนองเพลง บทร้อง และเครื่องแต่งกาย ซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้ ผู้ประดิษฐ์ท่ารำต้องนำมาหลอมรวมให้มีความเป็นเอกภาพ
              ความเป็นเอกภาพในการประดิษฐ์ท่ารำ การนำองค์ประกอบต่างๆ อาทิ ดนตรี จังหวะ บทร้องและเครื่องแต่งกาย ทุกส่วนต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้ เพื่อสร้างให้เกิดความกลมกลืน ไม่ควรมีความแตกต่างในองค์ประกอบกันอย่างมากมาย จนทำให้การประดิษฐ์ท่ารำในชุดนั้นขาดความเอกภาพ การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่ มีแนวดังนี้
1)            การประดิษฐ์ท่ารำแนวอนุรักษ์ ส่วนมากจะใช้ท่ารำเป็นแบบแผนมาตั้งแต่ดั้งเดิม คือ เพลงช้า-เพลงเร็ว ท่ารำในกลอนตำรารำนั้นเป็นการตีความหมายตามบทร้อง และทำนองเพลง
2)            การประดิษฐ์ท่ารำแนวความคิดสร้างสรรค์ จะเป็นการประดิษฐ์ท่ารำขึ้นใหม่ โดยได้แนวคิดมาจากการรับอิทธิพลของต่างประเทศทั้งตะวันออกและตะวันตก
การประดิษฐ์ท่ารำให้กับผู้รำที่เป็นคู่ ผู้ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องคำนึงถึงสิ่งดังต่อไปนี้
1)            รูปแบบ การรำเป็นคู่ หมายถึงการรำเพียงสองคน แต่โบราณมานิยมรำในการเบิกโรง คือ การแสดงชุดสั้นๆ ก่อนการแสดงละครใน เช่น รำประเลง รำกิ่งไม้เงินทอง หรือการรำที่ตัดตอนมาจากละครเรื่องใหญ่ เช่น พระรามตามกวาง พระลอตามไก่ เมขา-รามสูร รจนาเสี่ยงพวงมาลัย เป็นต้น
ผู้ประดิษฐ์ท่ารำต้องกำหนดรูปแบบการรำเป็นคู่ให้ชัดเจน เช่น คู่ชาย-หญิง คู่พระนาง ชายคู่-หญิงคู่ เพื่อการประดิษฐ์ท่ารำจะได้สอดสัมพันธ์กับผู้รำ และการรำคู่ต้องประดิษฐ์ท่ารำให้สอดคล้องกับคู่รำไม่ใช่ต่างคนต่างรำ
2)            จังหวะ ทำนองเพลง บทร้อง มีความสำคัญในการประดิษฐ์ท่ารำ ดังนี้
1.             ประดิษฐ์ท่ารำให้ตรงกับจังหวะและทำนองของเพลงอย่างกลมกลืน
2.             สำเนียงเพลงของต่างชาติต่างภาษา ทำนองเพลงสำเนียงแขก ลาว พม่า มอญ เป็นต้น การประดิษฐ์ท่ารำต้องนำลีลาของชาตินั้นๆ มาใส่ให้กลมกลืนกับท่ารำของนาฏศิลป์ไทยที่ประดิษฐ์ขึ้นด้วย
3.             ถ้าเป็นเพลงที่บทร้อง ต้องตีความหมายของบทร้องออกมาเป็นภาษาท่ารำ โดยสื่อความหมายให้ชัดเจน เช่น ถ้ารำที่ตีความหมายว่า ตัวเราต้องคำนึงถึงจารีตในการปฏิบัติเป็นท่าบังคับที่ใช้เฉพาะมือซ้ายจีบเข้าอกเท่านั้น
3)            เครื่องแต่งกาย เป็นองค์ประกอบสำคัญในการประดิษฐ์ท่ารำ ดังที่อาจารย์พนิดา สิทธิวรรณ ผู้อำนวยการกองสังคีต กรมศิลปากร ให้แนวคิดไว้ว่า เพลงดี เครื่องแต่งกายงาม จะส่งผลให้ท่ารำงามตามไปด้วย
ถ้าเป็นการรำคู่ นอกจากจะเป็นการอวดฝีมือรำแล้ว ควรจะอวดเครื่องแต่งกายเพราะท่ารำจะงามต้องอาศัยเครื่องแต่งกายงามด้วย การประดิษฐ์เครื่องแต่งกายจะยึดท่ารำเป็นหลัก และแต่งกายตามรูปแบบลักษณะของชุดการแสดง เช่น ถ้าเป็นการรำในแนวอนุรักษ์ส่วนมากจะต้องยืนเครื่องพระ-นาง หรือถ้าเป็นการรำที่เป็นนางทั้งคู่ จะแต่งแบบนางใน
          เรื่องสีของเครื่องแต่งกายที่เป็นการรำคู่ต้องเลือกให้เหมาะสม เช่น สีเขียวคู่กับสีแดง หรือแต่งสีเดียวกันทั้งคู่ ก็จะทำให้เครื่องแต่งกายดูโดดเด่น เป็นต้น
           เครื่องแต่งกายต้องออกแบบให้สอดสัมพันธ์กับท่ารำ รูปแบบของการแสดง และบุคลิคของผู้รำ
3.2 การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นหมู่
      การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นหมู่ ได้แก่ ระบำ รำ ฟ้อน ที่มีผู้รำจำนวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยไม่จำกัดจำนวนผู้รำ เอกลักษณ์และความโดดเด่นอยู่ที่ความพร้อมเพรียง และความงดงามในการแปรแถว
      ข้อคำนึงในการประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นหมู่ อาจารย์เฉลย ศุขะวณิช ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ให้แนวคิดไว้ดังนี้ คือ
1)            การแปรแถว การแสดงนาฏศิลป์ไทยสมัยโบราณไม่นิยมแปรแถวให้หลากหลายเหมือนในปัจจุบันนิยม มักจะนิยมแถวตรง แถวเรียงเดี่ยวหน้ากระดาน หรือแถวตอนคู่ หรือลักษณะวงกลม โดยประดิษฐ์ท่ารำให้เหมือนกัน ปัจจุบัน ได้รับอิทธิพลการแสดงของต่างประเทศจึงนำมาประดิษฐ์ท่ารำของนาฏศิลป์ให้มีการแปรแถว ตั้งซุ้ม ซึ่งผู้ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องคำนึกถึงความกลมกลืนเป็นหลักด้วย
2)            ท่ารำต้องสัมพันธ์กับเพลง การคิดประดิษฐ์ท่ารำจะต้องใช้วิธีฟังเพลงก่อน แล้วจึงคิดท่ารำให้กลมกลืนไปกับบทร้อง และท่วงทำนองของเพลงนั้นๆ ส่วนเครื่องแต่งกายจะยึดท่ารำเป็นหลักในการออกแบบ การเลือกสี ส่วนมากการแสดงที่เป็นหมู่จะแต่งกายแบบเดียวกัน
3)            ท่ารำเป็นหมู่คณะ การประดิษฐ์ท่ารำที่มีลักษณะการรำเป็นหมู่คณะ ใช้ผู้แสดงจำนวนมาก จะต้องคำนึกถึงความพร้อมเพรียงเป็นหลัก ไม่ให้ความสำคัญกับท่ารำมากนัก
4)            ท่ารำที่มีบทร้อง การประดิษฐ์ท่ารำที่มีบทร้อง ยึดความหมายของบทร้องเป็นหลักในการประดิษฐ์ท่ารำให้ถูกต้องตามความหมายของบทร้อง
5)            ท่ารำที่มีแต่ทำนองเพลง การประดิษฐ์ท่ารำที่ไม่มีบทร้องมีแต่ทำนองเพลง ให้ยึดท่วงทำนองของเพลงที่บรรเลง เช่น อารมณ์เพลงที่แสดงถึงความรัก ความโกรธ ความตื่นเต้น คึกคัก สนุกสนาน เป็นต้น
       ถ้าเป็นการบรรเลงตลอดทั้งเพลง การแปรแถว จะต้องลงให้พอดีกับจังหวะใหญ่ของทำนองเพลง เช่น ทำนองเพลงลายนี้มี 8 จังหวะ แล้วซอยออกมา 4 จังหวะ เพราะฉะนั้น จังหวะที่ 1 และจังหวะที่ 2 นั่นคือ ลีลา เพื่อไปลงในจังหวะที่4 แล้วเว้นช่วงไปลงจังหวะที่ 8 ก็ได้
6)            ท่ารำนาฏศิลป์พื้นเมือง การคิดประดิษฐ์ท่ารำนาฏศิลป์พื้นเมือง ต้องยึดหลักลีลาท่ารำ เฉพาะถิ่นทั้ง 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติเป็นอย่างยิ่งก็คือ นำท่ารำของแต่ละภาคมาปะปนกัน แบบหัวมังกุท้ายมังกรขาดความเป็นเอกภาพ เช่น ตั้งชื่อชุดการแสดงว่า ฟ้อน แต่ท่ารำเป็นของภาคกลาง แต่งกายแบบอีสาน เพลงเป็นดนตรีพื้นเมืองทางภาคใต้ อย่างนี้ไม่ควรปฏิบัติ เป็นต้น
7)            ท่ารำต้องสอดคล้องกับรสนิยม การประดิษฐ์ท่ารำ ควรให้ตรงกับรสนิยมของสังคมในสมัยนั้นๆ

4.7      วิชาสุขศึกษา
             สารอาหารที่ได้รับ ไขมันอิ่มตัว 13 โคเลสเตอรอล 13 ใยอาหาร 20 แคลเซียม 13 เหล็ก 14 โซเดียม 14 วิตามิน 8 วิตามินเอ  (เบต้าแคโรทิน 29 มค.ก)    คุณค่าทางโภชนาการ พลังงาน 450 กิโลแคลอรี่ การกระจายพลังงาน (โปรตีน :ไขมัน : คาร์โบไฮเดรต) 15:18:67
       น้ำพริกลงเรือ จัดได้ว่าเป็นอาหาร จัดได้ว่าเป็นอาหารไทยที่มีเอกลักษณ์ความไทยสูง เนื่องจากเป็นรูปแบบอาหารดั้งเดิมที่คนไทยกินกันมานาน คือ กินข้าวร่วมกับสำรับน้ำพริก และนิยมกินกับของแนมต่างๆและที่ขากไม่ได้คือผัก อาจเป็นผักสดหรือผักต้มก็ได้ ขึ้นอยู่กับความชอบและชนิดของน้ำพริก ในสำรับนี้ใช้ผักสดซึ่งประกอบด้วย แตงกวา ถั่วพู และขมิ้นขาว ของแนมอีกอย่างหนึ่งที่อาจมีร่วมด้วย คือ เนื้อสัตว์โดยมากมักเป็นสัตว์น้ำ และที่นิยมกันคือ ปลาดุกฟู อาหารร่วมสำรับชนิดอื่นมักเป็นอาหารที่รสชาติไม่จัดจ้าน อาจมีเนื้อสัตว์ร่วมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ได้ เพื่อช่วยดับความเผ็ดร้อนของน้ำพริก ในที่นี้ได้แก่ แกงจืดวุ้นเส้นไก่สับ
        จุดเด่นทางด้านโภชนาการ นอกจากไขมันโดยรวมของอาหารชนิดนี่จะไม่สูงแล้ว ปริมาณไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง ทั้งยังมีใยอาหารสูง โดยรวมแล้ว สำรับนี้จึงดีต่อ การควบคุมระดับไขมันในร่างกาย ส่วนปริมาณโปรตีนที่ได้จากสำรับนี้อยู่ในช่วงที่พอเหมาะตามคำแนะนำของการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี แร่ธาตุและวิตามินที่ได้จากสำรับนี้มีพอสมควร แม้ว่าวิตามินเอในสำรับนี้อาจน้อยไปเมื่อเทียบกับสำรับที่กล่าวถึงใน "สำรับอาหารเพื่อสุขภาพ" แต่สามารถปรับให้มีวิตามินเพิ่มได้ โดยเปลี่ยนชนิดของผักแนมให้เป็นผักใบเขียว หรือผักอื่นที่มีสีเหลือง ส้ม ซึ่งให้ สารแคโรทินอยด์สูง
         คุณสมบัติเชิงสุขภาพ อาหารในสำรับนี้มีศักยภาพสูงในการป้องกันภาวะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายอย่าง ที่สำคัญน้ำพริกลงเรือแสดงคุณสมบัติการต้าน อนุมูลอิสระสูงสุดเมื่อเทียบกับอาหารไทยชนิด ต่างๆ โดยการทดสอบในระดับโมเลกุลกับเซลล์ลำไส้ใหญ่ของมนุษย์ พบว่าสารสกัดน้ำพริกลงเรือ ขัดขวางการเกิด lipidperoxidstion ที่ส่งผลต่อระดับอนุมูลอิสระในเซลล์ได้ถึง ร้อยละ 20 ทั้งยังต้านภาวะ oxidative stress ได้สูงถึงร้อยละ 80 นอกจากตัวน้ำพริกเองที่มีคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ ผักที่ใช้กินกับน้ำพริก ซึ่งอุดมไปด้วยวิตามิน และแร่ธาตุยังจะเสริมความสามรถในการต้านอนุมูลอิสระให้เพิ่มขึ้นได้อีกด้วย ด้านคุณสมบัติในการต้านการก่อลิ่มเลือด เมื่อทดสอบโดยการจำลองกระบวนการเกิดในหลอดทดลองพบว่า สารสกัดจากน้ำพริกลงเรือสามารถยับยั้งการเกิดลิ่มเลือดได้โดยสมบูรณ์ นอกจากนั้นสารสกัดจากน้ำพริกลงเรือยังมีประสิทธิ์ภาพในการต้านความดันโลหิตได้ดี เทียบเท่ายาลดความดันโลหิตสูงที่นิยมใช้โดยทั่วไปอีด้วย สำหรับอาหารร่วมสำรับอีกชนิด ได้แก่ แกงจืดวุ้นเส้น ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีการศึกษาคุณสมบัติเชิงสุขภาพ แต่จากองค์ประกอบของอาหาร และวิธีการปรุง เป็นไปได้ว่า แกงจืดวุ้นเส้นน่าจะมีคุณสมบัติเชิงสุขภาพบางคุณสมบัติได้ด้วยเช่นกัน

4.8      วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ต้นทุนการผลิต

รายการ
จำนวน
จำนวนเงิน
พริกขี้หนูสวน
กะปิ
น้ำตาลปี๊บ
ปลาดุก
ไข่เค็ม
ผักสด
มะนาว
กระเทียมดอง
มะเขือพวง
หมูสามชั้น
3-5ขีด
1กระปุก
2-4ขีด
4กิโลกรัม
3-5ฟอง
2-4กำ
4-6ลูก
1ถุง
3-4ขีด
2กิโลกรัม
10บาท
30บาท
20บาท
130บาท
10บาท
50บาท
20บาท
20บาท
20บาท
240บาท
รวมค่าส่วนผสมที่ใช้ทั้งหมด 570 บาท