วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555

บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
    การศึกษาเกี่ยวกับ น้ำพริกลงเรือ กลุ่มผู้ศึกษา ได้กำหนดขั้นตอนในการศึกษาดังนี้
1.             ขั้นเตรียมการ
1.1 จัดทำข้อสอบก่อนเรียน 20 ข้อ
1.2 ศึกษาและเรียนรู้ในรายวิชาที่ครูผู้สอนได้ร่วมจัดทำหน่วยบูรณาการทั้ง 8 กลุ่มสาระ
1.3 รวมกลุ่มกันจัดทำโครงงานบูรณาการในหน่วยการเรียนรู้ บูรณาการเรื่อง “น้ำพริกสารพัดนึก”
โดยมีจำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่ม 11 คน ประกอบด้วย
1.นายจารุเดช ประภาศรี           ชั้นม.4/5     เลขที่ 4
2.นางสาวไพลิน รัดสันเทียะ   ชั้นม.4/5       เลขที่ 7
 3.นางสาวกาญจนา ดอนกลาง   ชั้นม.4/5      เลขที่ 24
4.นางสาวณัฏฐนันท์ แปกลาง    ชั้นม.4/5      เลขที่ 25
5.นางสาวศุภาวรรณ จุ้ยกลาง     ชั้นม.4/5      เลขที่ 26
6.นางสาวอุมารินทร์ จังหวัดกลางชั้นม.4/5    เลขที่ 27
7.นางสาวฐิติวรดา ศอกกลาง      ชั้นม.4/5     เลขที่ 38
8.นางสาวนีรชา กลิ่นหอมรื่น     ชั้นม.4/5     เลขที่ 39
9.นางสาวประวีณา ศิริโรจน์      ชั้นม.4/5      เลขที่ 40
10.นางสาวสุธิตา หวังตามกลาง  ชั้นม.4/5     เลขที่ 41
11.นางสาวสุธิดา แพะขุนทด      ชั้นม.4/5      เลขที่ 49
        1.4  ตั้งชื่อโครงงานเรื่อง  น้ำพริกลงเรือ

2.             ขั้นตอนการดำเนินงาน
2.1        สำรวจแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เกี่ยวกับ  น้ำพริกลงเรือ
2.2        ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ น้ำพริกลงเรือ
2.3        ฝึกปฏิบัติ/บันทึกข้อมูล/ภาพถ่ายเกี่ยวกับ น้ำพริกลงเรือ
2.4        ประเมินความพึงพอใจ
2.5        นำข้อมูลมาเขียนรายงาน 5 บท  และนำเสนอโครงงาน
3.             ขั้นตอนการประเมินผล
3.1        นักเรียนร่วมกันประเมินผลด้านกระบวนการทำงาน (Process) 5 คะแนน
3.2        ผู้ปกครองร่วมกันประเมินด้านคุณธรรมจริยธรรม (Attitude) 5 คะแนน
3.3        ครูประเมินผลด้านความรู้ (Knowledge) 10 คะแนน
ในวันประเมินผลด้านความรู้นักเรียนได้นำมาเสนอด้วยวาจาและในรูปของรายงาน 5 บท ,
แผงโครงงาน , แผ่นพับ และ ผลิตภัณฑ์


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น